บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

คิวอาร์โค๊ด ปัญญารัตน์ อาจสัญจร

รูปภาพ
 

Learning Agility of School Administrators: An Empirical Investigation

  Learning Agility of School Administrators: An Empirical Investigation Abstract In this study, it was aimed to determine whether school administrators' learning agility levels differ according to their gender, seniority, school levels served, educational status, ages and administrative duties (principal and vice-principal). The research was carried out according to the survey model frequently used in quantitative research methods. A total of 428 volunteer administrators composed of 160 school principals and 268 vice-principals participated in the study. The data were collected with the “Marmara Learning Agility Scale” developed by Yazıcı and Özgenel (2020). The collected data were analyzed using t-test and ANOVA tests in the SPSS statistics program. According to the analysis, school administrators' overall level of learning agility is very high. While learning agility levels did not differ significantly according to the gender and school levels of the administrators, the level

STEM and STEAM Education in Russian Education: Conceptual Framework

STEM and STEAM Education in Russian Education: Conceptual Framework Abstract  The paper examines the STEM approach as one of the revolutionary tools for transforming education. This paper discloses the content of the concept of “STEAM-education”, substantiates its importance and prerequisites for its appearance. The author elucidates a comparative analytical review of trends and prospects for the development of STEAM education in the Russian Federation. In this paper, the authors want to touch upon a comprehensive theoretical and methodological study conducted on the declared problem to identify the problem of the formation and development of the STEAM approach in the education system in the Russian Federation at all levels: general education, vocational education, and additional education. The object of this study was STEM education. The subject of this research was the STEM approach and STEM technologies in the system of general education, vocational education, and additional educat

Post pandemic education: Distance education to artificial intelligence based education

Post pandemic education: Distance education to artificial intelligence based education Abstract  The concept of distance education has become even more substantial in the days when humanity is having difficult times with pandemic. Besides, there is an idea that education will have transformed when the life after pandemic starts. Aim of this research is to discuss artificial intelligence-supported or artificial intelligence-based education, which is a type of distance education and to contribute to people’s manifesting different perspectives on education, which has differentiated under emergency cases such as pandemics or natural disasters and in technological advances as well. To reveal methods that can contribute to increase efficiency of distance education is aimed within the scope of the research. Whether the human education may be left to machines or not, and what kind of situations will be encountered if such a system is used is discussed within the scope of the research. Results

Development of Leadership Soft Skills Among Educational Administrators

  Development of Leadership Soft Skills Among Educational Administrators Abstract  Leadership soft skills are very beneficial for administering organization effectively and efficiently. The aim of this study is to measure the development of leadership soft skills among educational administrators using the guidelines. The school administrators need to complement hard and soft skills while working with organizational staff and community. A total of 477 school administrators and teachers are involved in this study. In addition, there are 15 school administrators and teachers who have participated in a focus group discussion. This study utilized mixed mode method, comprised of quantitative and qualitative design. Quantitative method using questionnaire and qualitative method using interview protocol to obtain data. The statistical data analysis that employed in this study including percentage, mean value, and standard deviation meanwhile content analysis is used to analyse qualitative data

คุณลักษณะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมในสหวิทยาเขตวิภาวดี

  คุณลักษณะผู้น าที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมในสหวิทยาเขตวิภาวดี บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมใน สหวิทยาเขตวิภาวดี2) เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะผู้น าที่มีประสิทธิผลตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูโรงเรียน มัธยมในสหวิทยาเขตวิภาวดี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมในสหวิทยาเขตวิภาวดี ได้แก่ โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบ ารุง โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา และโรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) และ โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 2 จ านวน 25 คน และครูจ านวน 560 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติt-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ตามความคิดเห็นของผู้บริหารเกี่ยวกับคุณลักษณะผู้น าที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารโรงเรียนมัธยม ในสหวิทยาเขตวิภาวดี ผลการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนตามความคิดเห็นของครูอยู่ในระดับมาก คุณลักษณะผู้น า ด้านที่มีประสิทธิผลสูงที่สุดต

รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3

  รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับนักเรียน ช่วงชั้นที่ 3  บทคัดย่อ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ดังนี้1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการสำหรับ นักเรียนช่วงชั้น ที่3 2) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ สำหรับนักเรียนช่วงชั้น ที่3 และ 3) เพื่อประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ สำหรับนักเรียนช่วงช้ันที่3 โดยผู้วิจัย ดำ เนินการวิจัยตามลำดับขั้นตอน 3ระยะ ดังนี้ระยะที่1การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ ผู้วิจัยและครูอาสาเข้าร่วมวิจัยร่วมกันพัฒนารูปแบบฯ โดยยึดหลักการเรียนรู้ตามทฤษฎีสร้างสรรค์นิยมและ ประเมินคุณภาพรูปแบบฯ โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน ระยะที่2การทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการ สหวิชาการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จ านวน 17คน ปี การศึกษา 2563โดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ใช้เวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ และระยะที่ 3การประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการสหวิชาการ ด้วยการประยุกต์ใช้เกณฑ์ มาตรฐานการประเมินทางการศึกษาของ

ปัญหาการศึกษาไทย

ปัญหาการศึกษาไทย บทคัดย่อ  บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการศึกษาไทยในมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวของกับการจัดการศึกษา โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้มีส่วนเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาจํานวน 56 ราย ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบไม่มี โครงสร้าง ผลการศึกษาอาจสรุปได้ว่า ปัญหาการศึกษาไทยที่พบประกอบด้วย ปัญหาเกี่ยวกับครูหลักสูตร ผู้เรียน ผู้บริหาร งบประมาณ การจัดการเรียนการสอนการบริหาร นโยบายจากภาครัฐ สภาพเศรษฐกิจ สภาพครอบครัว สังคมและวัฒนธรรม และ ระบบการวัดประเมินผลผู้เรียนทั้งนี้ปัญหาการศึกษาที่มีผู้กล่าวถึงมากที่สุดหาอันดับแรก ได้แก้ ปัญหาด้านครูผู้สอน กับปัญหาด้านนโยบายจากภาครัฐซึ่งมีผู้กล่าวถึงสูงสุด 20 คน รองลงมาคือ ปัญหาเกี่ยว กับหลักสูตร 15 คน ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน 11 คน และปัญหาเกี่ยวกับตัวผู้บริหาร 10 คน ตามลําดับ รายการอ้างอิง วีระยุทธ พรพจนธนมาศ(2558).ปัญหาการศึกษาไทย : การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวของกับการศึกษา.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณปีที่ 15 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2558,หน้า48-49. 1 * และจิติมา วรรณศรี 1 * และจิติมา วรรณศรี มณีรัตน์ พรรณพุ่มพฤกษ์ 1 * และจิติมา วรร
กลยุทธ์การบริหารงบประมาณ  

การศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 12

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 12 A Study of Leadership Styles of Secondary school AdiministratorsDepartment of General Education, Educational Region twelve ชื่อนิสิต อิทธิชัย ธนเศรษฐ์ Itichai Thanasate ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ ดร ณัฐนิภา คุปรัตน์ Asst Prof Dr Natnipa Cooparat ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (บริหารการศึกษา) Master. Education (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2535 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแบบภาวะผู้นำ ความยืดหยุ่นในการใช้แบบภาวะผู้นำ และการปรับใช้แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 12 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยแปลมาจากแบบสอบถามของ เฮอร์ซี และ บลันชาร์ด (Hersey และ Blanchard) แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารโรงเรียนมั

การศึกษาความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณภาพจากภายนอกในปีการศึกษา 2546 ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี

  Title การศึกษาความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณภาพจากภายนอกในปีการศึกษา 2546 ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี Title Alternative A STUDY OF READINESS OF PRIMARY SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF SUPHANBURI PROVINCIAL PRIMARY EDUCATION FOR THE FIRST ROUND QUALITY ASSESSMENT IN ACADEMIC YEAR 2003 BY OUTSIDE ORGANIZATION Creator Name:   นิรินธน์ กุลชาติวัฒนา Organization :  โรงเรียนวัดสกุณปักษี จ.สุพรรณบุรี Subject ThaSH:   โรงเรียนประถมศึกษา  --  การประเมิน  --  สุพรรณบุรี  --  วิจัย Classification :.DDC:   372.072 Description Abstract:  ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณภาพจากภายนอกรอบแรก ในปีการศึกษา 2546 ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี และเพื่อศึกษาปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาในการเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณภาพจากภายนอกรอบแรก ในปีการศึกษา 2546 ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จำนวน 330 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 109 คน แ

การพัฒนาแนวทางการบริหารการเงินในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และเขต 2 กรณีศึกษา : โรงเรียนวัดศรีภวังค์ โรงเรียนวัดทำใหม่ และโรงเรียนวัดลาดระโหง

  Title การพัฒนาแนวทางการบริหารการเงินในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และเขต 2 กรณีศึกษา : โรงเรียนวัดศรีภวังค์ โรงเรียนวัดทำใหม่ และโรงเรียนวัดลาดระโหง Title Alternative A GUIDELINE DEVELOPMENT OF THE FINANCIAL MANAGEMENT OF THE SMALL-SIZED SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF PHRANAKHON SI AYUTTHAYA EDUCATIONAL SERVICE AREA 1 AND 2 A CASE STUDY ; WAT SRIPAWANG SCHOOL,WATTAMMAI SCHOOL, AND WAT RADRAHONG SCHOOL Creator Name:   สุพจน์ สงวนงาม Address:  ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา Organization :  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา Subject keyword:  สถานศึกษา \x การบริหารจัดการ ThaSH:   การเงิน \x การบริหารจัดการ Description Abstract:  บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารการเงิน และประเมินการใช้แนวทางการบริหารการเงินในสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนวัดศรีภวังค์ โรงเรียนวัดทำใหม่ และโรงเรียนวัดลาดระโหง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการวิจัย เชิงปฏิบัติกา

คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ ตามทัศนะของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี

  Title คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ ตามทัศนะของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี Title Alternative CHARACTERISTICS OF PROFESSIONAL SCHOOL ADMINISTRATORS AS PERCEIVED BY TEACHERS IN BASIC EDUCATION SCHOOLS UNDER THE EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE SUPHAN BURI Creator Name:   บรรเจิด อินทร์กล่า Subject keyword:  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี ;   ครู ;   ผู้บริหาร ;   สถานศึกษา Description Abstract:  การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้บริหาร สถานศึกษาตามสภาพจริงกับคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพและเปรียบเทียบ คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ ตามทัศนะของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 ช่วงชั้นที่ 1-3 และช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี จา นวน 388 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบสองขั้นตอน (two stage random sampling) โดยการสุ่มตามระดับชั้นอย่างเป็นสัดส